คำถามหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
1.จงให้ความหมายขอคำว่าเทคโนโลยีและคำว่าสารสนเทศ
ตอบ
เทคโนโลยี หมายถึง การนำเอาวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในวงการต่างๆ
โดยทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ได้รับการตีความ จำแนกแจกแจง
จัดหมวดหมู่ หรือประมวลผลจนมีสาระอยู่ในตัวมันเอง
สามารถสื่อความหมายให้เกิดการเข้าใจกับผู้ที่ต้องการใช้ข้อมูลนั้น
2.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหมายถึงอะไร
ตอบ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับข่าวสาร
ข้อมูลและการสื่อสาร นับตั้งแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์หรือประมวลผล
การรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บและการนำไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่านี้มักจะหมายถึง
คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware)ส่วนคำสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data)และ ระบบการสื่อสารต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ดาวเทียมหรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ
ทั้งมีสายและไร้สาย
3.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technologies
–ICT) เกิดจาก
ในปัจจุบันกระแสโลกยุคโลกาภิวัฒน์แผ่อิทธิพลไปทั่วโลกทำให้โลกได้รับข้อมูลข่าวสาร
สามารถเชื่อมโยงกันได้แบบเครือข่ายหรือใยแมงมุมได้ทั่วทุกมุมโลก
โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร เช่น ดาวเทียม โทรศัพท์ เป็นต้น
นำมาผสมผสานกันเพื่อให้เกิดความสะดวกในการสื่อสาร มีความรวดเร็วมากขึ้น
เราจึงเรียกกระบวนการนี้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(Information
and Communication Technologies –ICT)
4.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีความเป็นมาหรือพัฒนาการโดยย่ออย่างไร
ตอบ เทคโนโลยีสารสนเทศกำลังเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวัน
สังเกตได้จากการนำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาใช้ในสำนักงาน
การจัดทำระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้อุปกรณ์อำนวยความสะดวกที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
แสดงว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
เพื่อการคำนวณและเก็บข้อมูลได้แพร่ไปทั่วทุกแห่ง
เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสำคัญต่อการแข่งขันด้านธุรกิจและการขยายตัวของบริษัท
มีผลต่อการให้บริการขององค์การและหน่วยงาน และมีผลต่อการประกอบกิจในแต่ละวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามามีบทบาทอย่างมากในปัจจุบัน ช่วยให้ความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันของเราสะดวกสบายมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับยุคก่อน การเดินทางและการติดต่อสื่อสารทำได้ง่ายขึ้น มีการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในงานแทบทุกสาขาอาชีพ ซึ้งส่งผลให้วิทยาการต่างๆเจริญก้าวหน้าและทันสมัยอย่างรวดเร็ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามามีบทบาทอย่างมากในปัจจุบัน ช่วยให้ความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันของเราสะดวกสบายมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับยุคก่อน การเดินทางและการติดต่อสื่อสารทำได้ง่ายขึ้น มีการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในงานแทบทุกสาขาอาชีพ ซึ้งส่งผลให้วิทยาการต่างๆเจริญก้าวหน้าและทันสมัยอย่างรวดเร็ว
5.ระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence :AI) หมายถึงอะไรและมีส่วนประกอบที่สำคัญอย่างไร
ตอบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรือ เอไอ
(AI) หมายถึงความฉลาดเทียมที่สร้างขึ้นให้กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต
ปัญญาประดิษฐ์เป็นสาขาหนึ่งในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมเป็นหลัก
แต่ยังรวมถึงศาสตร์ในด้านอื่นๆอย่างจิตวิทยา ปรัชญา หรือชีววิทยา ซึ่งสาขาปัญญาประดิษฐ์เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการการคิด
การกระทำ การให้เหตุผลการปรับตัว หรือการอนุมาน และการทำงานของสมอง แม้ว่าดังเดิมนั้นเป็นสาขาหลักในวิทยาการคอมพิวเตอร์
แต่แนวคิดหลายๆ อย่างในศาสตร์นี้ได้มาจากการปรับปรุงเพิ่มเติมจากศาสตร์อื่นๆ เช่น
< !--[if !supportLists]-->· <!--[endif]-->การเรียนรู้ของเครื่อง นั้นมีเทคนิคการเรียนรู้ที่เรียกว่า
การเรียนรู้ต้นไม้ตัดสินใจ ซึ่งประยุกต์เอาเทคนิคการอุปนัยของ จอห์น สจวร์ต มิลล์ นักปรัชญาชื่อดังของอังกฤษ
มาใช้
< !--[if !supportLists]-->· <!--[endif]-->เครือข่ายประสาทเทียมก็นำเอาแนวคิดของการทำงานของสมองของมนุษย์
มาใช้ในการแก้ปัญหาการแบ่งประเภทของข้อมูล และแก้ปัญหาอื่นๆ ทางสถิติ เช่น การวิเคราะห์ความถดถอยหรือ
การปรับเส้นโค้ง
อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัจจุบันวงการปัญญาประดิษฐ์
มีการพัฒนาส่วนใหญ่โดยนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ อีกทั้งวิชาปัญญาประดิษฐ์
ก็ต้องเรียนที่ภาควิชาคอมพิวเตอร์ของคณะวิทยาศาสตร์หรือคณะวิศวกรรมศาสตร์ เราจึงถือเอาง่าย
ๆ ว่า ศาสตร์นี้เป็นสาขาของวิทยาการคอมพิวเตอร์นั่นเอง
6.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีความสำคัญหรือมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอำนวยความสะดวกสบายต่อการดำรงชีวิตเป็นอันมาก
เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดำรงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทำให้การสร้างที่พักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐานสามารถผลิตสินค้าและให้บริการต่างๆ
เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น เทคโนโลยีทำให้ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้าได้เป็นจำนวนมาก
มีราคาถูกลง สินค้าได้คุณภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งให้บริการด้านข้อมูล ข่าวสารด้วยกลไกอิเล็กทรอนิกส์
ทำให้มีการติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก รวดเร็วตลอดเวลา จะเห็นว่าชีวิตปัจจุบันเกี่ยวข้อง
กับเทคโนโลยีเป็นอันมาก ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการทำงาน
7.สารสนเทศที่ดีและมีประโยชน์ควรมีลักษณะอย่างไร
ตอบ สารสนเทศที่ดีและมีประโยชน์ในการใช้งานควรมีลักษณะดังนี้
ด้านเนื้อหา
- ความสมบูรณ์ครอบคลุม
- ความสัมพันธ์กับเรื่อง
- ความถูกต้อง
- ความเชื่อถือได้
- การตรวจสอบได้
ด้านรูปแบบ
- ชัดเจน
- ระดับรายละเอียด
- รูปแบบการนำเสนอ
- สื่อการนำเสนอ
- ความยืดหยุ่น
ด้านประสิทธิภาพ
- ประหยัด
- เวลา
- ความเร็วและทันต่อเหตุการณ์
- การปรับปรุงให้ทันสมัย
- มีระยะเวลา
ด้านกระบวนการ
- ความสามารถในการเข้าถึง
- การมีส่วนร่วม
- มีระยะเวลา
ด้านเนื้อหา
- ความสมบูรณ์ครอบคลุม
- ความสัมพันธ์กับเรื่อง
- ความถูกต้อง
- ความเชื่อถือได้
- การตรวจสอบได้
ด้านรูปแบบ
- ชัดเจน
- ระดับรายละเอียด
- รูปแบบการนำเสนอ
- สื่อการนำเสนอ
- ความยืดหยุ่น
ด้านประสิทธิภาพ
- ประหยัด
- เวลา
- ความเร็วและทันต่อเหตุการณ์
- การปรับปรุงให้ทันสมัย
- มีระยะเวลา
ด้านกระบวนการ
- ความสามารถในการเข้าถึง
- การมีส่วนร่วม
- มีระยะเวลา
8.จงยกตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตอบ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
มีอยู่มากมายหลายอย่าง
เพื่อการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นหรือการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในชีวิตประจำวันด้วยสื่อต่างๆ
เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์
โทรสารล้วนเป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งสิ้น
นอกจากนี้ยังมีการใช้เทคโนโลยีเครื่องกลหรือกลไก เพื่อช่วยอำนวยความสะดวก เช่น
การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัติ
การจ่ายค่าโดยสารรถไฟฟ้าผ่านบัตรแถบแม่เหล็ก เป็นต้น
9.จงอธิบายกระแสโลกาภิวัฒน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบัน
ตอบ กระแสโลกาภิวัฒน์ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ในปัจจุบันช่วยให้ความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันของเราสะดวกสบายมากขึ้น
เมื่อเปรียบเทียบกับยุคก่อนการเดินทางและติดต่อสื่อสารระหว่างกันสามารถทำได้ง่ายขึ้น
มีการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งาน ในทุกสาขาอาชีพ เช่น การสื่อสาร การธนาคาร
การบิน วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การแพทย์ การศึกษา หรือการเรียนการสอน ซึ่งส่งผลให้วิทยาการต่างๆเจริญก้าวหน้าและทันสมัยอย่างรวดเร็ว
การติดตามข่าวสารที่เกิดขึ้นในส่วนต่างๆของโลกได้ทันเหตุการณ์ สามารถรับรู้ข่าวสารข้อมูลในเวลาเดียวกันได้ทั้งที่อยู่ห่างไกลกันคนละสถานที่
เช่น การถ่ายทอดสด การเสนอข่าวเหตุการณ์สำคัญ รายการแข่งขันกีฬา
การถ่ายทอดสัญญาณผ่านระบบดาวเทียมจากประเทศต่างๆ การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์พิมพ์รายงาน
สร้างภาพกราฟิก เก็บข้อมูล สืบค้นข้อมูล ฟังเพลง รวมถึงการประยุกต์ใช้ ในการเรียนการสอน
จึงนับได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญ ต่อการดำรงชีวิต การศึกษา
และการเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยให้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาในทุกๆ
ด้าน ช่วยส่งเสริมทักษะ และสร้างความสนุกสนานเพลิดเพลิน ไปพร้อมๆ กัน
10.จงกล่าวถึงบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทั้งในด้านประโยชน์และโทษที่มีต่อผู้ใช้และสังคม
ตอบ
ข้อดีของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ข้อดีของเทคโนโลยีสารสนเทศ
- เพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน (Operation
Efficiency)
- เพิ่มผลผลิต (Function Effectiveness)
- เพิ่มคุณภาพบริการลูกค้า (Quality Customer
Service)
- ผลิตสินค้าใหม่และขยายผลผลิต (Product
Creation and Enhancement)
- สามารถสร้างทางเลือกเพื่อแข่งขันได้ (Altering
the basic of competition)
- สร้างโอกาสทางธุรกิจ (Identifying and
Exploiting Business Opportunities)
- ดึงดูดลูกค้าและป้องกันคู่แข่ง(Client Lock-In/Competitor
Lock-Out)จากเป้าหมายทั้ง7ประการของเทคโนโลยีสารสนเทศถ้าสามารถดำเนินการได้ตามเป้หมายดังกล่าวก็ถือได้ว่าเป็นข้อดีของเทคโนโลยีสารสนเทศระบบนี้ได้ทั้งหมด
ข้อเสียของเทคโนโลยีสารสนเทศ
- วงจรชีวิตของระบบสารสนเทศ
เป็นระบบที่มีวงจรชีวิตค่อนข้างจำกัด อาจจะอธิบายได้ว่า
เนื่องจาการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี รวมทั้งสภาพทางเศรษฐกิจและธุรกิจ เช่น
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้ต้องมีการปรับเปลี่ยนระบบสารสนเทศไปด้วยหรือ
การเปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้บริหาร ก็อาจจะต้องเปลี่ยนระบบสารสนเทศไปด้วย
- ลงทุนสูงเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือที่มีราคาแพงและส่วนมากไม่อาจจะนำไปใช้ได้ทันทีแต่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเสียก่อนจึงจะใช้ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
- ก่อให้เกิดช่องว่าง
(Gap) เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดช่องว่างในการรับข่าวสารระหว่างคนจนกับคนรวย
คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
1.คำว่า"ระบบ"
และวิธีการเชิงระบบ หมายถึงอะไร
ตอบ ระบบ หมายถึงสิ่งที่ประกอบขึ้นมาจากหน่วยย่อยหรือองค์ประกอบย่อย ที่จะต้องมีความสัมพันธ์และทำหน้าที่ร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ภายในระบบแต่ละระบบสามารถมองเป็น ระบบย่อย (Subsystem) ได้ซึ่งระบบย่อยเหล่านี้ถือว่าเป็นระบบด้วยเช่นกัน เพราะมีองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบที่สมบูรณ์ในตัวเอง เมื่อระบบย่อยหลาย ๆ ระบบรวมกันจะทำให้เกิดระบบใหญ่ขึ้น
ตอบ ระบบ หมายถึงสิ่งที่ประกอบขึ้นมาจากหน่วยย่อยหรือองค์ประกอบย่อย ที่จะต้องมีความสัมพันธ์และทำหน้าที่ร่วมกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ภายในระบบแต่ละระบบสามารถมองเป็น ระบบย่อย (Subsystem) ได้ซึ่งระบบย่อยเหล่านี้ถือว่าเป็นระบบด้วยเช่นกัน เพราะมีองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบที่สมบูรณ์ในตัวเอง เมื่อระบบย่อยหลาย ๆ ระบบรวมกันจะทำให้เกิดระบบใหญ่ขึ้น
วิธีการเชิงระบบ(Systems Approach) หมายถึงการจัดองค์ประกอบของระบบในกรอบความคิดของตัวป้อน
กระบวนการ กลไกควบคุมผลผลิต
และข้อมูลป้อนกลับและนำเสนอผังของระบบในรูปแบบของระบบที่สมบูรณ์
2. องค์ประกอบสำคัญของวิธีระบบได้แก่อะไร
ตอบ วิธีการระบบมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ประการ คือ
ตอบ วิธีการระบบมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ประการ คือ
1.ข้อมูลวัตถุดิบ
(input)
2.
กระบวนการ (process)
3.
ผลผลิต (output)
4.การตรวจสอบผลย้อนกลับ
(feed back)
3.ระบบสารสนเทศ หมายถึงอะไร
ตอบ ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ พนักงานที่เกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบนี้ทำงานร่วมกันเพื่อกำหนด รวบรวม จัดเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ใช้เพื่อช่วยสนับสนุนการทำงาน การตัดสินใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดำเนินงานขององค์กร
ตอบ ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ พนักงานที่เกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบนี้ทำงานร่วมกันเพื่อกำหนด รวบรวม จัดเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ใช้เพื่อช่วยสนับสนุนการทำงาน การตัดสินใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดำเนินงานขององค์กร
4.องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศ
ได้แก่อะไร
ตอบ องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศแบ่ได้เป็น2 ส่วน คือ
1. ระบบการคิด หมายถึงกระบวนการและขั้นตอนในการจัดลำดับ จำแนก แจกแจง และจัดหมวดหมู่ข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการจัดและเผยแพร่ ระบบการคิดจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญของงานสารสนเทศที่งระดับพื้นฐานและระดับสูง
2. ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่นำมาใช้ในการรวบรวม จัดเก็บและเผยแพร่สารสนเทศให้ดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นเครื่องมือในการจัดการสารสนเทศที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย จนกลายเป็นสัญลักษณ์ของสารสนเทศ
ตอบ องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศแบ่ได้เป็น2 ส่วน คือ
1. ระบบการคิด หมายถึงกระบวนการและขั้นตอนในการจัดลำดับ จำแนก แจกแจง และจัดหมวดหมู่ข้อมูลต่างๆเพื่อความสะดวกในการจัดและเผยแพร่ ระบบการคิดจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญของงานสารสนเทศที่งระดับพื้นฐานและระดับสูง
2. ระบบเครื่องมือ หมายถึง วัสดุอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่นำมาใช้ในการรวบรวม จัดเก็บและเผยแพร่สารสนเทศให้ดำเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเป็นเครื่องมือในการจัดการสารสนเทศที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย จนกลายเป็นสัญลักษณ์ของสารสนเทศ
5.สารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย
ด้านขั้นตอน และสารสนเทศทั่วไปแต่ละด้านประกอบด้วยอะไร
ตอบ องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย ในการแก้ปัญหา มี 4 ประการ ได้แก่ ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ปัญญา
องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย ในการดำเนินงานมี 3 ประการ คือ ข้อมูลนำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์
องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศทั่วไป ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสื่อสารข้อมูล ข้อมูล สารสนเทศ โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ บุคลาการด้านคอมพิวเตอร์
ตอบ องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย ในการแก้ปัญหา มี 4 ประการ ได้แก่ ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ ปัญญา
องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศด้านจุดมุ่งหมาย ในการดำเนินงานมี 3 ประการ คือ ข้อมูลนำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์
องค์ประกอบหลักของระบบสารสนเทศทั่วไป ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายสื่อสารข้อมูล ข้อมูล สารสนเทศ โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ บุคลาการด้านคอมพิวเตอร์
6.โดยทั่วไปการจัดระบบสารสนเทศมีขั้นตอนการจัดอย่างไร
ตอบ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ระบบ แบ่งออกเป็น 4หน่วยย่อย คือ
1) วิธีวิเคราะห์แนวทางการปฏิบัติงาน
2) วิเคราะห์หน้าที่
3) วิเคราะห์งาน
4) วิเคราะห์วิธีการและสื่อ
ขั้นที่ 2 การสังเคราะห์ระบบ มีขั้นตอน ดังนี้
1)การเลือกวิธีการหรือกลวิธี
2)ดำเนินการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3)ประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน
ขั้นที่ 3 การสร้างแบบจำลอง
ตอบ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ระบบ แบ่งออกเป็น 4หน่วยย่อย คือ
1) วิธีวิเคราะห์แนวทางการปฏิบัติงาน
2) วิเคราะห์หน้าที่
3) วิเคราะห์งาน
4) วิเคราะห์วิธีการและสื่อ
ขั้นที่ 2 การสังเคราะห์ระบบ มีขั้นตอน ดังนี้
1)การเลือกวิธีการหรือกลวิธี
2)ดำเนินการแก้ไขปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3)ประเมินผลประสิทธิภาพการดำเนินงาน
ขั้นที่ 3 การสร้างแบบจำลอง
7.ระบบสารสนเทศระดับบุคคล
ระดับกลุ่ม กับระดับองค์กรแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ มีความแตกต่งกันดังนี้
ระบบสารสนเทสารสนเทศระดับบุคคล คือระบบที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุคคลในหน้าที่ที่รับผิดชอบ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีขนาดเล็กลง ราคาถูก แต่มีความสามรถในการประมวลผลด้วยความเร็วสูงขึ้น ประกอบกับมีโปรแกรมสำเร็จ
ตอบ มีความแตกต่งกันดังนี้
ระบบสารสนเทสารสนเทศระดับบุคคล คือระบบที่เสริมประสิทธิภาพและเพิ่มผลงานให้แต่ละบุคคลในหน้าที่ที่รับผิดชอบ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีขนาดเล็กลง ราคาถูก แต่มีความสามรถในการประมวลผลด้วยความเร็วสูงขึ้น ประกอบกับมีโปรแกรมสำเร็จ
การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานของแผนก
คำว่า การทำงานเป็นกลุ่ม (workgroup) ในที่นี้หมายถึง กลุ่มบุคคลจจำนวน
2คนขึ้นไปที่ร่วมกันทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน
โดยทั่วไปบุคลากรในกลุ่มเดียวกันจะรู้จักกันและกันและทำงานเคียงบ่าเคียงไหล่
เป้าหมายหลักของการทำงานเป็นกลุ่ม คือ
การเตรียมสภาวะแวดล้อมที่จะเอื้ออำนวยประโยชน์ในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน
โดยทำให้เป้าหมายของธุรกิจดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิผล
ระบบสารสนเทศระดับองค์กรคือ
ระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรในภาพรวม
ระบบในลักษณะนี้จะเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานร่วมกันของหลายแผนก
โดยการใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ร่วมกันด้วยวิธีส่งผ่านถึงกันจากแผนกหนึ่งข้ามไปอีกแผนกหนึ่ง
ระบบสารสนเทศดังกล่าวนี้สามารถสนับสนุน งานในระดับผู้ปฏิบัติการและสนับสนุนการตัดสินใจ
เนื่องจากสามารถให้ข้อมูลจากแผนกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาประกอบการตัดสินใจ
โดยอาจนำข้อมูลมาแสดงในรูปแบบสรุป หรือในแบบฟอร์มที่ต้องการ บ่อยครั้งที่
การบริหารงานในระดับสูงจำเป็นต้องใช้ข้อมูลร่วมกันจากหลายแผนกเพื่อประกอบการตัดสินใจ
8. ข้อมูลและความรู้
คืออะไร มีความสำคัญกับสารสนเทศอย่างไร
ตอบ ข้อมูล (DATA) คือ ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูล จึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการ รวบรวม ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ดังจะเห็นจาก กระบวนการเลือกตั้ง หลายพรรค การเมือง มีการใช้เทคโนโลยีรวบรวมข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และเมื่อ สถานการณ์หรือเหตุการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น การเตรียมการหรือการแก้สถานการณ์ จะดำเนินการได้อย่างทันท่วงที
ความรู้ คือ สภาวะทางสติปัญญาที่มนุษย์ใช้ในการตีความสิ่งเร้าที่อยู่ภายนอกและภายด้วยข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ทฤษฎี หลักการ รูปแบบ กรอบความคิด หรือข้อมูลอื่นๆ ที่มีความจำเป็น และเป็นกรอบของการผสมผสานระหว่างประสบการณ์ ค่านิยม ความรอบรู้ในบริบท สำหรับการประเมินค่า และการนำเอาประสบการณ์กับสารสนเทศใหม่ ๆ มาผสมรวมเข้าด้วยกัน
ตอบ ข้อมูล (DATA) คือ ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ ข้อมูล จึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการ รวบรวม ข้อมูลอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ดังจะเห็นจาก กระบวนการเลือกตั้ง หลายพรรค การเมือง มีการใช้เทคโนโลยีรวบรวมข้อมูล หาวิธีการที่จะให้ได้ข้อมูลอย่างรวดเร็ว และเมื่อ สถานการณ์หรือเหตุการณ์บางอย่างเกิดผันแปรขึ้น การเตรียมการหรือการแก้สถานการณ์ จะดำเนินการได้อย่างทันท่วงที
ความรู้ คือ สภาวะทางสติปัญญาที่มนุษย์ใช้ในการตีความสิ่งเร้าที่อยู่ภายนอกและภายด้วยข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ทฤษฎี หลักการ รูปแบบ กรอบความคิด หรือข้อมูลอื่นๆ ที่มีความจำเป็น และเป็นกรอบของการผสมผสานระหว่างประสบการณ์ ค่านิยม ความรอบรู้ในบริบท สำหรับการประเมินค่า และการนำเอาประสบการณ์กับสารสนเทศใหม่ ๆ มาผสมรวมเข้าด้วยกัน
สารสนเทศ (Information) นั้นคือ
ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น หาค่าเฉลี่ย หรือใช้
เทคนิคขั้นสูง เช่นการวิจัยดำเนินงาน เป็นต้น เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์
หรือ มีความเกี่ยว ข้องกัน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือตอบปัญหาต่าง ๆ
ได้ สารสนเทศ ประกอบด้วยข้อมูล เอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ
แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ในรูปที่มีความหมาย
สารสนเทศไม่ใช่จำกัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียวเท่านั้น
< !--[if !supportLineBreakNewLine]-->
< !--[if !supportLineBreakNewLine]-->
9. การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศมีขั้นตอนอย่างไร
ตอบ มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล
1) การรวบรวมข้อมูล
2)การบำรุงรักษาและประมวลผลข้อมูล
3)การจัดการข้อมูล
4)การควบคุมข้อมูล
5)การสร้างสารสนเทศ
วิธีการเก็บข้อมูล
1)การสำรวจด้วยแบบสอบถาม
2)การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง
3)การนับจำนวนหรือวัดขนาด ด้วยตนเองหรือใช้อุปกรณ์
ตอบ มีขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล
1) การรวบรวมข้อมูล
2)การบำรุงรักษาและประมวลผลข้อมูล
3)การจัดการข้อมูล
4)การควบคุมข้อมูล
5)การสร้างสารสนเทศ
วิธีการเก็บข้อมูล
1)การสำรวจด้วยแบบสอบถาม
2)การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง
3)การนับจำนวนหรือวัดขนาด ด้วยตนเองหรือใช้อุปกรณ์
< !--[endif]-->
10. จงกล่าวถึงเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลที่มีขนาดพื้นที่และจำนวนเครื่องที่ใช้งานแตกต่างกัน
ตอบ 1. แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน
2. แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร
3. อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก
ตอบ 1. แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน
2. แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร
3. อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก
1.คอมพิวเตอร์ หมายถึงอะไร และมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ เป็นเครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ
ประโยชน์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง
3.มีความถูกต้องแม่นยำ
4.เก็บข้อมูลได้มาก
5.สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่ง
2.คอมพิวเตอร์มีที่มาอย่างไร
ตอบ ในยุคอดีตดึกดำบรรพ์ มนุษย์รู้จักวิธีการนับโดยการใช้นิ้วมือ กิ่งไม้ ก้อนหิน ลูกปัด มีการขีดเขียนตามผนังถ้ำเพื่อนับจำนวนต่อมาในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ชาวจีน ได้คิดค้นเครื่องมือที่ช่วยในการรับเป็นครั้งแรก โดยนำเอา ลูกปัดมาร้อยเป็นพวง ซึ่งสมัยโบราณเรียกว่า "ลูกคิด" (Abacus) ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการนับที่มนุษย์คิดขึ้นเป็นสิ่งแรกของโลก และยังคงได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ (Computer) มาจากรากศัพท์ ภาษาลาตินว่าComputare ซึ่งแปลว่า
การคิดการคำนวณ ใน ภาษาไทย เรียกว่า เครื่องคณิตกรณ์ (อ่านว่า คะ - นิด - ตะ - กอน) เป็นสิ่งประดิษฐ์ ที่ผลิตขึ้น เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ ในปัจจุบัน เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน ใช้ในการช่วยแก้ปัญหาการทำงานทั่วทุกวงการ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทำงานด้วยระบบไฟฟ้า ที่ช่วยแบ่งเบาภาระของมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คอมพิวเตอร์ หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่เป็อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำงานด้วยระบบไฟฟ้าที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อช่วยเหลืองานที่ซับซ้อนยุ่งยาก หรืองานทมีประมาณมากให้เสร็จด้วยความถูกต้อง แม่นยำภายในระยะเวลาสั้น ๆ ทั้งยังช่วยงาน ในด้านการบันเทิงได้อีกด้วย
ตอบ 1.หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard ) และเมาส์ ( Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ ( Scanner),วีดีโอคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone),ทัชสกรีน(Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร์ เทเบิ้ล แอนด์ ครอสแชร์ (Digiter tablet and crosshair)
2.หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคำนวณ
3.หน่วยความจำ (Primary Storage Section หรือ Memory) เป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง 4.หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เก็บผลลัพธ์เพื่อนำไปใช้ภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกมากที่สุด เครื่องพิมพ์ (Printer)
5.อุปกรณ์ต่อพ่วง หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้
4.ระบบคอมพิวเตอร์หมายถึงอะไร ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ได้แก่อะไร
ตอบ คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 5 ส่วน คือ
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนำมาต่อเชื่อมเพื่อทำงานร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า "ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)" ที่มีโครงสร้างของระบบจะทำงานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น
2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามต้องการได้ โดยโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language)ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1) ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอำนวยความสะดวกด้านเครื่องมือสำหรับการทำงานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทำงานจะเป็นไปตามชุดคำสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้านการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ
3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลคำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทำงาน ซึ่งอาจนำมาจำแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สำหรับคำนวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชำระให้กับการไฟฟ้าฯ
4. บุคคลากร (Peopleware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสำคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดำเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทำด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
1. - เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)
2. - บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)
3. - ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager)
4. - ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)
5. กระบวนการทำงาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์จำเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทำงาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทำคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็จะง่ายขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน
5.ฮาร์ดแวร์ หมายถึงอะไร ส่วนประกอบที่สำคัญของฮาร์ดแวร์ได้แก่อะไร
ตอบ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นส่วนประกอบดังนี้ หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล
6.ส่วนประกอบใดของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนส่วนสมองของระบบคอมพิวเตอร์
ตอบ หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคำนวณ
1.หน่วยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ทำหน้าที่ควบคุมลำดับขั้นตอนการทำงานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยคำนวณและหน่วยตรรกะ หน่วยความจำและแปลคำสั่ง
2.หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทำหน้าที่ในการคำนวณหาตัวเลข เช่น การบวก ลบ การเปรียบเทียบ
3.หน่วยความจำ เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล
7.หน่วยคอมพิวเตอร์แบบแรม(RAM)และแบบรอม(ROM)ของหน่วยความจำหลักแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ หน่วยความจำแบบแรม (Random Access Memory หรือRam) เป็นหน่วยความจำชั่วคราว ที่ใช้สำหรับเก็บโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ขณะนั้น มีความจุของหน่วยเก็บข้อมูลไม่เกิน 640 KB คือผู้ใช้สามารถเขียนหรือลบไปได้ตลอดเวลา ถ้าหากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับ จะมีผลทำให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บไว้สูญหายไปหมด และไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้
หน่วยความจำแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจำถาวร ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่เก็บไว้จะยังคงอยู่
8.จานบันทึกข้อมูล(Hard Disk) ประกอบด้วยอะไร ทำหน้าที่อย่างไร
ตอบ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับแผงวงจรหลัก (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก(eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
9.บอกความหมายของคำต่อไปนี้ เมกะไบต์(Megabyte)กิกะไบต์(Gigabit)พิกเซล(Pixel)จิกะเฮิร์ซ
ตอบ 1.เมกะไบต์ คือ หน่วยความจุในการเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ มีค่าเท่ากับหนึ่งล้านไบต์ (อย่าสับสนกับ Mb ซึ่งใช้แทนเมกะบิต) ซึ่งบอกถึงปริมาณหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ที่สามารถเก็บตัวอักษรได้ 1 ล้านตัว หรือมีค่าเท่ากับ 2 ยกกำลัง 20 = 1,048,567 BYTESหรือเท่ากับ 1024 กิโลไบต์นิยมเรียกสั้นๆว่า เม็ก หรือ meg
2.กิกะไบต์ เป็นหน่วยวัดขนาดของข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของหน่วยความจำหรือฮาร์ดดิสก์
3.พิกเซล เป็นหน่วยพื้นฐานของภาพ คือจุดภาพบนจอแสดงผล หรือ จุดภาพในรูปภาพที่รวมกันเป็นภาพขึ้น โดยภาพหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยจุดภาพหรือพิกเซลมากมาย และแต่ละภาพที่สร้างขึ้นจะมีความหนาแน่นของจุดภาพ หรือบางครั้งแทนว่าความละเอียด (ความคมชัด) ที่แตกต่างกันไป จึงใช้ในการบอกคุณสมบัติของภาพ จอภาพ หรือ อุปกรณ์แสดงผลภาพได้ จอภาพที่มีจำนวนพิกเซลมาก จะมีความละเอียดของภาพมาก โดยมากจะระบุจำนวนพิกเซลแนวนอน x แนวตั้ง เช่น 1366 x 768 พิกเซล
4.จิกะเฮิร์ซ เป็นหน่วยของความถี่ไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EM) เท่ากับหนึ่งพันล้านเฮิร์ตซ์ (1,000,000,000 Hz) gigahertz ได้รับการใช้เป็น ตัวชี้ความถี่ของ ultra-high-frequency (UHF) และสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไมโครเวฟ (microwave) และรวมถึงในบางคอมพิวเตอร์ ใช้แสดงความเร็วนาฬิกาของไมโครโพรเซสเซอร์
10.จอภาพ แป้นพิมพ์และเมาส์ ทำหน้าที่อย่างไรในเครื่องคอมพิวเตอร์
ตอบ จอภาพ ใช้แสดงผลข้อมูลที่ได้ประมวลมาจากซีพียูเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดอันหนึ่งของเครื่องคอมพิวเตอร์แป้นพิมพ์ ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยจะประกอปไปด้วยแป้นพิมพ์ที่มีปุ่มต่างๆมากมายทั้งปุ่มตัวอักษร(Typewriter keys) ตัวเลข(Numeric keypad) ปุ่มพิเศษ (Special-purpose keys)ปุ่มควบคุมอื่นๆ(Control keys)หรือปุ่มฟังก์ชั่นต่างๆ(Function keys) สำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ต้องใช้การพิมพ์เป็นหลัก
คำถามท้ายหน่วยการเรียน บทที่3
1.คอมพิวเตอร์ หมายถึงอะไร และมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ เป็นเครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ
ประโยชน์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง
3.มีความถูกต้องแม่นยำ
4.เก็บข้อมูลได้มาก
5.สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่ง
2.คอมพิวเตอร์มีที่มาอย่างไร
ตอบ ในยุคอดีตดึกดำบรรพ์ มนุษย์รู้จักวิธีการนับโดยการใช้นิ้วมือ กิ่งไม้ ก้อนหิน ลูกปัด มีการขีดเขียนตามผนังถ้ำเพื่อนับจำนวนต่อมาในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ชาวจีน ได้คิดค้นเครื่องมือที่ช่วยในการรับเป็นครั้งแรก โดยนำเอา ลูกปัดมาร้อยเป็นพวง ซึ่งสมัยโบราณเรียกว่า "ลูกคิด" (Abacus) ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการนับที่มนุษย์คิดขึ้นเป็นสิ่งแรกของโลก และยังคงได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ (Computer) มาจากรากศัพท์ ภาษาลาตินว่าComputare ซึ่งแปลว่า
การคิดการคำนวณ ใน ภาษาไทย เรียกว่า เครื่องคณิตกรณ์ (อ่านว่า คะ - นิด - ตะ - กอน) เป็นสิ่งประดิษฐ์ ที่ผลิตขึ้น เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ ในปัจจุบัน เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน ใช้ในการช่วยแก้ปัญหาการทำงานทั่วทุกวงการ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทำงานด้วยระบบไฟฟ้า ที่ช่วยแบ่งเบาภาระของมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คอมพิวเตอร์ หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่เป็อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำงานด้วยระบบไฟฟ้าที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อช่วยเหลืองานที่ซับซ้อนยุ่งยาก หรืองานทมีประมาณมากให้เสร็จด้วยความถูกต้อง แม่นยำภายในระยะเวลาสั้น ๆ ทั้งยังช่วยงาน ในด้านการบันเทิงได้อีกด้วย
ตอบ 1.หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard ) และเมาส์ ( Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ ( Scanner),วีดีโอคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone),ทัชสกรีน(Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร์ เทเบิ้ล แอนด์ ครอสแชร์ (Digiter tablet and crosshair)
2.หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคำนวณ
3.หน่วยความจำ (Primary Storage Section หรือ Memory) เป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับหน่วยงานอื่น ๆ ได้โดยตรง 4.หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เก็บผลลัพธ์เพื่อนำไปใช้ภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกมากที่สุด เครื่องพิมพ์ (Printer)
5.อุปกรณ์ต่อพ่วง หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้
4.ระบบคอมพิวเตอร์หมายถึงอะไร ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ได้แก่อะไร
ตอบ คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 5 ส่วน คือ
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนำมาต่อเชื่อมเพื่อทำงานร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า "ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)" ที่มีโครงสร้างของระบบจะทำงานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น
2. ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามต้องการได้ โดยโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language)ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่าง ๆ ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1) ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอำนวยความสะดวกด้านเครื่องมือสำหรับการทำงานพื้นฐานต่าง ๆ ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทำงานจะเป็นไปตามชุดคำสั่งที่เขียนขึ้น ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น งานด้านการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ
3. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลคำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทำงาน ซึ่งอาจนำมาจำแนกเป็นรายงานต่างๆ เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สำหรับคำนวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชำระให้กับการไฟฟ้าฯ
4. บุคคลากร (Peopleware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสำคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดำเนินการต่างๆ หลายอย่าง ซึ่งไม่สามารถทำด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก เราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
1. - เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)
2. - บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)
3. - ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager)
4. - ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)
5. กระบวนการทำงาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์จำเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทำงาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทำคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ก็จะง่ายขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน
5.ฮาร์ดแวร์ หมายถึงอะไร ส่วนประกอบที่สำคัญของฮาร์ดแวร์ได้แก่อะไร
ตอบ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นส่วนประกอบดังนี้ หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล
6.ส่วนประกอบใดของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนส่วนสมองของระบบคอมพิวเตอร์
ตอบ หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์ มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคำนวณ
1.หน่วยควบคุม (Control Unit หรือ CU) ทำหน้าที่ควบคุมลำดับขั้นตอนการทำงานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล หน่วยคำนวณและหน่วยตรรกะ หน่วยความจำและแปลคำสั่ง
2.หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit หรือ ALU) ทำหน้าที่ในการคำนวณหาตัวเลข เช่น การบวก ลบ การเปรียบเทียบ
3.หน่วยความจำ เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล
7.หน่วยคอมพิวเตอร์แบบแรม(RAM)และแบบรอม(ROM)ของหน่วยความจำหลักแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ หน่วยความจำแบบแรม (Random Access Memory หรือRam) เป็นหน่วยความจำชั่วคราว ที่ใช้สำหรับเก็บโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ขณะนั้น มีความจุของหน่วยเก็บข้อมูลไม่เกิน 640 KB คือผู้ใช้สามารถเขียนหรือลบไปได้ตลอดเวลา ถ้าหากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับ จะมีผลทำให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บไว้สูญหายไปหมด และไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้
หน่วยความจำแบบรอม (Read Only Memory หรือ Rom) เป็นหน่วยความจำถาวร ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่เก็บไว้จะยังคงอยู่
8.จานบันทึกข้อมูล(Hard Disk) ประกอบด้วยอะไร ทำหน้าที่อย่างไร
ตอบ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับแผงวงจรหลัก (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก(eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
9.บอกความหมายของคำต่อไปนี้ เมกะไบต์(Megabyte)กิกะไบต์(Gigabit)พิกเซล(Pixel)จิกะเฮิร์ซ
ตอบ 1.เมกะไบต์ คือ หน่วยความจุในการเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ มีค่าเท่ากับหนึ่งล้านไบต์ (อย่าสับสนกับ Mb ซึ่งใช้แทนเมกะบิต) ซึ่งบอกถึงปริมาณหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ที่สามารถเก็บตัวอักษรได้ 1 ล้านตัว หรือมีค่าเท่ากับ 2 ยกกำลัง 20 = 1,048,567 BYTESหรือเท่ากับ 1024 กิโลไบต์นิยมเรียกสั้นๆว่า เม็ก หรือ meg
2.กิกะไบต์ เป็นหน่วยวัดขนาดของข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของหน่วยความจำหรือฮาร์ดดิสก์
3.พิกเซล เป็นหน่วยพื้นฐานของภาพ คือจุดภาพบนจอแสดงผล หรือ จุดภาพในรูปภาพที่รวมกันเป็นภาพขึ้น โดยภาพหนึ่งๆ จะประกอบไปด้วยจุดภาพหรือพิกเซลมากมาย และแต่ละภาพที่สร้างขึ้นจะมีความหนาแน่นของจุดภาพ หรือบางครั้งแทนว่าความละเอียด (ความคมชัด) ที่แตกต่างกันไป จึงใช้ในการบอกคุณสมบัติของภาพ จอภาพ หรือ อุปกรณ์แสดงผลภาพได้ จอภาพที่มีจำนวนพิกเซลมาก จะมีความละเอียดของภาพมาก โดยมากจะระบุจำนวนพิกเซลแนวนอน x แนวตั้ง เช่น 1366 x 768 พิกเซล
4.จิกะเฮิร์ซ เป็นหน่วยของความถี่ไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EM) เท่ากับหนึ่งพันล้านเฮิร์ตซ์ (1,000,000,000 Hz) gigahertz ได้รับการใช้เป็น ตัวชี้ความถี่ของ ultra-high-frequency (UHF) และสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไมโครเวฟ (microwave) และรวมถึงในบางคอมพิวเตอร์ ใช้แสดงความเร็วนาฬิกาของไมโครโพรเซสเซอร์
10.จอภาพ แป้นพิมพ์และเมาส์ ทำหน้าที่อย่างไรในเครื่องคอมพิวเตอร์
ตอบ จอภาพ ใช้แสดงผลข้อมูลที่ได้ประมวลมาจากซีพียูเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดอันหนึ่งของเครื่องคอมพิวเตอร์แป้นพิมพ์ ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยจะประกอปไปด้วยแป้นพิมพ์ที่มีปุ่มต่างๆมากมายทั้งปุ่มตัวอักษร(Typewriter keys) ตัวเลข(Numeric keypad) ปุ่มพิเศษ (Special-purpose keys)ปุ่มควบคุมอื่นๆ(Control keys)หรือปุ่มฟังก์ชั่นต่างๆ(Function keys) สำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ต้องใช้การพิมพ์เป็นหลัก
คำถามท้ายหน่วยการเรียน บทที่3
1.คอมพิวเตอร์
หมายถึงอะไร และมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ เป็นเครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง
ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมต่างๆสามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ
ประโยชน์
1.มีความเร็วในการทำงานสูง
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง
3.มีความถูกต้องแม่นยำ
4.เก็บข้อมูลได้มาก
5.สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่ง
2.คอมพิวเตอร์มีที่มาอย่างไร
ตอบ ในยุคอดีตดึกดำบรรพ์ มนุษย์รู้จักวิธีการนับโดยการใช้นิ้วมือ
กิ่งไม้ ก้อนหิน ลูกปัด
มีการขีดเขียนตามผนังถ้ำเพื่อนับจำนวนต่อมาในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ชาวจีน ได้คิดค้นเครื่องมือที่ช่วยในการรับเป็นครั้งแรก
โดยนำเอา ลูกปัดมาร้อยเป็นพวง ซึ่งสมัยโบราณเรียกว่า "ลูกคิด" (Abacus)
ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการนับที่มนุษย์คิดขึ้นเป็นสิ่งแรกของโลก
และยังคงได้รับความนิยมมาจนถึงปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์
(Computer) มาจากรากศัพท์ ภาษาลาตินว่าComputare ซึ่งแปลว่า
การคิดการคำนวณ ใน ภาษาไทย เรียกว่า เครื่องคณิตกรณ์ (อ่านว่า
คะ - นิด - ตะ - กอน) เป็นสิ่งประดิษฐ์ ที่ผลิตขึ้น เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์
ในปัจจุบัน เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน
ใช้ในการช่วยแก้ปัญหาการทำงานทั่วทุกวงการ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ที่ทำงานด้วยระบบไฟฟ้า ที่ช่วยแบ่งเบาภาระของมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คอมพิวเตอร์
หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่เป็อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำงานด้วยระบบไฟฟ้าที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อช่วยเหลืองานที่ซับซ้อนยุ่งยาก
หรืองานทมีประมาณมากให้เสร็จด้วยความถูกต้อง แม่นยำภายในระยะเวลาสั้น ๆ
ทั้งยังช่วยงาน
ในด้านการบันเทิงได้อีกด้วย
3.ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ได้แก่อะไรบ้าง
ตอบ
1.หน่วยรับข้อมูล
(Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า
ทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard ) และเมาส์ ( Mouse) นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์รับเข้าอื่น
ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ ( Scanner),วีดีโอคาเมรา (Video
Camera), ไมโครโฟน (Microphone),ทัชสกรีน(Touch
screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร์
เทเบิ้ล แอนด์ ครอสแชร์ (Digiter tablet and crosshair)
2.หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว
ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์
มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคำนวณ
3.หน่วยความจำ (Primary Storage Section หรือ
Memory) เป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับหน่วยงานอื่น
ๆ ได้โดยตรง 4.หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หรือใช้เก็บผลลัพธ์เพื่อนำไปใช้ภายหลัง ได้แก่ จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ส่งออกมากที่สุด เครื่องพิมพ์ (Printer)
5.อุปกรณ์ต่อพ่วง
หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้
4.ระบบคอมพิวเตอร์หมายถึงอะไร
ส่วนประกอบที่สำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ได้แก่อะไร
ตอบ
คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน
ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 5 ส่วน คือ
1. ฮาร์ดแวร์
(Hardware) หมายถึง
สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์
ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard)
และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง
เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์
และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้
จะต้องนำมาต่อเชื่อมเพื่อทำงานร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า "ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer
System)" ที่มีโครงสร้างของระบบจะทำงานตามโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น
2. ซอฟต์แวร์
(Software) หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานได้ในทันที
ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามต้องการได้
โดยโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language)ภาษาใดภาษาหนึ่ง
และมีโปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์แบบต่าง
ๆ ขึ้นมา
ซอฟต์แวร์
สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่
ๆ คือ
1) ซอฟต์แวร์ระบบ(System
Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ
ของคอมพิวเตอร์ และอำนวยความสะดวกด้านเครื่องมือสำหรับการทำงานพื้นฐานต่าง ๆ
ตั้งแต่ผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ การทำงานจะเป็นไปตามชุดคำสั่งที่เขียนขึ้น
ตลอดจนควบคุมการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application
Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น
เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น
งานด้านการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานด้านอื่น ๆ
ตามแต่ผู้ใช้ต้องการ
3. ข้อมูล/สารสนเทศ
(Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ
ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลคำนวณ
หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น
ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ
ประวัติการทำงาน ซึ่งอาจนำมาจำแนกเป็นรายงานต่างๆ
เกี่ยวกับบุคลากรในหน่วยงานได้ หรือข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขมาตรๆ
ไฟฟ้าของบ้านแต่ละหลัง ก็ใช้สำหรับคำนวณเป็นปริมาณไฟฟ้า ที่ใช้ในแต่ละเดือน
แล้วคิดเป็นเงิน ที่จะต้องชำระให้กับการไฟฟ้าฯ
4. บุคคลากร
(Peopleware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ
และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น
มีความสำคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ
นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดำเนินการต่างๆ หลายอย่าง
ซึ่งไม่สามารถทำด้วยตัวเองได้ ถ้าหากไม่ใช่ผู้ที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนัก
เราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย
ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
1. - เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)
2. - บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)
3. - ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic
Data Processing Manager)
4. - ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)
5. กระบวนการทำงาน
(Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้
ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์
ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์จำเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทำงาน
ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน
มีการจัดทำคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน
ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา
ตลอดจนการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
และซอฟต์แวร์ก็จะง่ายขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน
5.ฮาร์ดแวร์
หมายถึงอะไร ส่วนประกอบที่สำคัญของฮาร์ดแวร์ได้แก่อะไร
ตอบ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆ
ที่เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็นส่วนประกอบดังนี้ หน่วยรับข้อมูล
หน่วยประมวลผล หน่วยแสดงผล
6.ส่วนประกอบใดของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนส่วนสมองของระบบคอมพิวเตอร์
ตอบ หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือเรียกโดยทั่ว
ๆ ไปว่า CPU ซึ่งถือว่าเป็นสมองของระบบคอมพิวเตอร์
มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคุม หน่วยคำนวณ
1.หน่วยควบคุม (Control Unit หรือ
CU) ทำหน้าที่ควบคุมลำดับขั้นตอนการทำงานของหน่วยรับข้อมูล หน่วยแสดงผล
หน่วยคำนวณและหน่วยตรรกะ หน่วยความจำและแปลคำสั่ง
2.หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic
Unit หรือ ALU) ทำหน้าที่ในการคำนวณหาตัวเลข
เช่น การบวก ลบ การเปรียบเทียบ
3.หน่วยความจำ เป็นอุปกรณ์ใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล
7.หน่วยคอมพิวเตอร์แบบแรม(RAM)และแบบรอม(ROM)ของหน่วยความจำหลักแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ หน่วยความจำแบบแรม (Random Access Memory หรือRam)
เป็นหน่วยความจำชั่วคราว
ที่ใช้สำหรับเก็บโปรแกรมที่กำลังใช้งานอยู่ขณะนั้น
มีความจุของหน่วยเก็บข้อมูลไม่เกิน 640 KB คือผู้ใช้สามารถเขียนหรือลบไปได้ตลอดเวลา
ถ้าหากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไฟฟ้าดับ จะมีผลทำให้ข้อมูลต่าง ๆ
ที่เก็บไว้สูญหายไปหมด และไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้
หน่วยความจำแบบรอม (Read Only Memory หรือ
Rom) เป็นหน่วยความจำถาวร ที่สามารถอ่านได้อย่างเดียว
ไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องหรือไฟฟ้าดับ
ข้อมูลที่เก็บไว้จะยังคงอยู่
8.จานบันทึกข้อมูล(Hard Disk) ประกอบด้วยอะไร
ทำหน้าที่อย่างไร
ตอบ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน
มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน
การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับแผงวงจรหลัก (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน
(PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก
(SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี,
สายไฟร์ไวร์ รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก(eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง
9.บอกความหมายของคำต่อไปนี้
เมกะไบต์(Megabyte)กิกะไบต์(Gigabit)พิกเซล(Pixel)จิกะเฮิร์ซ
ตอบ 1.เมกะไบต์ คือ หน่วยความจุในการเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์
มีค่าเท่ากับหนึ่งล้านไบต์ (อย่าสับสนกับ Mb ซึ่งใช้แทนเมกะบิต)
ซึ่งบอกถึงปริมาณหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ที่สามารถเก็บตัวอักษรได้ 1 ล้านตัว หรือมีค่าเท่ากับ 2 ยกกำลัง 20 =
1,048,567 BYTESหรือเท่ากับ 1024 กิโลไบต์นิยมเรียกสั้นๆว่า
เม็ก หรือ meg
2.กิกะไบต์ เป็นหน่วยวัดขนาดของข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เช่น ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของหน่วยความจำหรือฮาร์ดดิสก์
3.พิกเซล เป็นหน่วยพื้นฐานของภาพ คือจุดภาพบนจอแสดงผล
หรือ จุดภาพในรูปภาพที่รวมกันเป็นภาพขึ้น โดยภาพหนึ่งๆ
จะประกอบไปด้วยจุดภาพหรือพิกเซลมากมาย
และแต่ละภาพที่สร้างขึ้นจะมีความหนาแน่นของจุดภาพ หรือบางครั้งแทนว่าความละเอียด (ความคมชัด) ที่แตกต่างกันไป จึงใช้ในการบอกคุณสมบัติของภาพ จอภาพ หรือ
อุปกรณ์แสดงผลภาพได้ จอภาพที่มีจำนวนพิกเซลมาก จะมีความละเอียดของภาพมาก
โดยมากจะระบุจำนวนพิกเซลแนวนอน x แนวตั้ง เช่น 1366 x
768 พิกเซล
4.จิกะเฮิร์ซ เป็นหน่วยของความถี่ไฟฟ้ากระแสสลับ(AC)
หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (EM) เท่ากับหนึ่งพันล้านเฮิร์ตซ์
(1,000,000,000 Hz) gigahertz ได้รับการใช้เป็น ตัวชี้ความถี่ของ
ultra-high-frequency (UHF) และสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไมโครเวฟ
(microwave) และรวมถึงในบางคอมพิวเตอร์
ใช้แสดงความเร็วนาฬิกาของไมโครโพรเซสเซอร์
10.จอภาพ
แป้นพิมพ์และเมาส์ ทำหน้าที่อย่างไรในเครื่องคอมพิวเตอร์
ตอบ จอภาพ ใช้แสดงผลข้อมูลที่ได้ประมวลมาจากซีพียูเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง
นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดอันหนึ่งของเครื่องคอมพิวเตอร์แป้นพิมพ์
ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยจะประกอปไปด้วยแป้นพิมพ์ที่มีปุ่มต่างๆมากมายทั้งปุ่มตัวอักษร(Typewriter keys) ตัวเลข(Numeric keypad) ปุ่มพิเศษ (Special-purpose
keys)ปุ่มควบคุมอื่นๆ(Control keys)หรือปุ่มฟังก์ชั่นต่างๆ(Function
keys) สำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ต้องใช้การพิมพ์เป็นหลัก
เมาส์ ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้โดยจะใช้การเลื่อนเม้าส์เพื่อบังคับตัวชี้ตำแหน่ง(Pointer)บนหน้าจอ
แล้วใช้การกดปุ่มบนตัวเม้าส์เพื่อสั่งให้ทำงานอะไรบนหน้าจอที่จุดนั้นๆได้
คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4
1.ซอฟแวร์
คืออะไร และทำหน้าที่อย่างไร
ตอบ คือชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์อย่างเป็นลำดับขั้น
ชุดคำสั่งเหล่านี้ได้จัดเตรียมไว้ในหน่วยความจำ
คอมพิวเตอร์จะอ่านชุดคำสั่งแล้วทำงานตามโปรแกรมที่นักเขียนโปรแกรมได้เขียนเอาไว้
2.ซอฟแวร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง
ตอบ 3ประเภทได้แก่ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์และซอฟแวร์ เฉพาะงาน
3.ซอฟแวร์
ระบบ คืออะไร
ตอบ ซอฟต์แวร์ระบบ คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ
หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์
เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ
นำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์
จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง เมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมทันที
โปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำงานนี้เป็นซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ
คอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้
ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ
และยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ
4.ซอฟแวร์
ประยุกต์ คืออะไร
ตอบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้
ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง
ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย
เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ
และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น
ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ฯลฯ
5.ซอฟแวร์
เฉพาะงานคืออะไร
ตอบ ซอฟแวร์ เฉพาะงานคือ ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษารูปแบบการทำงานหรือความต้องการของธุรกิจนั้น
ๆ แล้วจัดทำขึ้น โดยทั่วไปจะเป็นซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่วนรวมกันเพื่อร่วมกันทำงาน
ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กันในทางธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี
ระบบงานจัดจำหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรมบริหารการเงิน
และการเช่าซื้อ
6.ซอฟแวร์มีความสำคัญและจำเป็นต่องานคอมพิวเตอร์อย่างไร
ตอบ การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์
จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต
ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ
จากนั้นจึงให้คำตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้นการดำเนินการเหล่านี้เป็นไปโดยอัตโนมัติตามคำสั่งของซอฟต์แวร์
ทำนองเดียวกันเมื่อซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า
พนักงานเก็บเงินจะใช้เครื่องกราดตรวจอ่านรหัสแท่งบนสินค้าทำให้บนจอภาพ ปรากฏชื่อสินค้า รหัสสินค้า และราคาสินค้า
ในการดำเนินการนี้ต้องใช้ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบทำงานได้ การที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการได้อย่างไรและก่อให้เกิดประโยชน์ได้มากน้อยเพียงใดนั้นจึงขึ้นอยู่กับซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์
หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้
7.ซอฟแวร์และภาษาคอมพิวเตอร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
ตอบ การติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้
เราเรียกสื่อกลางนี้ว่าภาษาคอมพิวเตอร์
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า
ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้
ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์
รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้
เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที
แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก
จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ
ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง
ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมาย บางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณ ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล ในการทำงานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์จะแปลภาษาระดับสูง ให้เป็นภาษาเครื่อง
ดังนั้นจึงมีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ให้เป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมที่ใช้แปลภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเรียกว่า คอมไพเลอร์ (compiler) หรืออินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) คอมไพเลอร์จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน
แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์
ทำงาน ตามภาษาเครื่องนั้น
ส่วนอินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้ว จึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป
ข้อแตกต่างระหว่าง คอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง
ตัวแปลภาษาที่รู้จักกันดี เช่น ตัวแปลภาษาเบสิก ตัวแปลภาษาโคบอล
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์จึงเป็นส่วนสำคัญที่ควบคุม การทำงานของคอมพิวเตอร์ให้ดำเนินการ ตามแนว ความคิดที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว
คอมพิวเตอร์ต้องทำงานตามโปรแกรมเท่านั้น
ไม่สามารถทำงานที่นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในโปรแกรม
8.ระบบปฏิบัติการคืออะไร
ทำหน้าที่อะไร
ตอบ เป็นซอฟแวร์ที่ควบคุมกิจกรรมทั้งหมดของคอมพิวเตอร์ การทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ต่อพ่วงกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ซึ่งระบบปฏิบัติการจะทําหน้าที่ เป็น
ตัวกลางในการติดต่อกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องโดยตรงและโปรแกรมการใช้งานต่าง ๆ
คำถามท้ายหน่วยการเรียน บทที่5
1.ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หมายความว่าอย่างไร
ตอบ การเชื่อมโยงระบบเรื่องคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน
เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลและสะดวกในการใช้งาน
เป็นการเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละตัวที่ใช้ทำงานเข้าหากัน
2.ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีประโยชน์อย่างไร
ตอบ 1.ระบบเครือข่ายบริเวณเฉพาะที่
ให้ประโยชน์ในด้านการใช้ข้อมูลร่วมกันโดยเฉพาะอย่ายิ่งการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลเดียวกันทำให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันมากที่สุด
2.ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เช่นการสื่อสารด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์(E-mail)การสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์และการศึกษาแบบ E-leaning
3.ระบบเครือข่ายร่วมปฏิบัติ
ใช้ในงานวิจัยเพื่อถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์3.ระบบเครือข่ายในบริเวณเฉพาะที่มีความหมายว่าอย่างไร
ตอบ ระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ
โดยปกติแล้วจะเป็นระบบเครือข่ายส่วนตัว (Private Network) นั่นคือองค์กรที่ต้องการใช้งานเครือข่าย
ทำการสร้าง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่ายในระยะใกล้ ๆ
ซึ่งจะช่วยให้เกิดประโยชน์แก่องค์กรและธุรกิจต่างๆ
4.ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหมายความว่าอย่างไร
ตอบ เป็นระบบใหญ่ที่มีการเชื่อมต่อโยงกันทั่วโลกที่ใช่ในการติดต่อสื่อสารและสืบค้นข้อมูล
5.ระบบเครือข่ายร่วมปฏิบัติการหมายความว่าอย่างไร
ตอบ เกิดจากเครือข่ายของคอมพิวเตอร์มาทำงานร่วมกันใช้ในงานวิจัยเพื่อถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์
6.ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภทอะไรบ้าง
ตอบ LAN ย่อมาจากคำว่า (Local Area Network)
-ระบบเครือข่ายขนาดเล็ก
เป็นระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์กที่ใช้เชื่อมต่อกันในระยะไม่ไกลมากนักโดยปกติมักเชื่อมต่อกันในระยะไม่เกิน 5กิโลเมตรคือเป็นระบบเน็ตเวิร์กที่อยู่ภายใต้อาคารเดียวกันหรือต่างอาคารในระยะใกล้ๆ
และไม่ต้องใช้เครือข่ายการสื่อสารขององค์การ โทรศัพท์แห่งประเทศไทย
MAN ย่อมาจากคำว่า (Metropolitan Area network)
-ระบบเครือข่ายขนาดกลาง
เป็นระบบเน็ตเวิร์กที่ต้องอาศัยโครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย
เพราะเป็นการติดต่อกันในระดับเขต แต่เป็นระบบเน็ตเวิร์กในระยะไม่เกิน 50 กิโลเมตร
WAN ย่อมาจากคำว่า (Wide Area Network)
-ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่
เป็นระบบเน็ตเวิร์กที่มีการติดต่อสื่อสารกันในระดับประเทศ
หรือติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วทุกมุมโลกโดยทั่วไปเรียกว่า world wide
web สามารถส่งได้ทั้ง ข้อมูล ภาพและเสียง โดยจะต้องใช้ media ในการติดต่อสื่อสารโดยจะต้องใช้ คู่สายโทรศัพท์ dial - up
line คู่สายเช่า leased line / ISDN
ขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทยจึงจะสามารถใช้อย่างสมบูรณ์
และมีประสิทธิภาพ
7.รูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีกี่รูปแบบอะไรบ้าง
ตอบ 2 รูปแบบ
1.ฮาร์ดแวร์หรือส่วนเครือข่ายเชิงกายภาพ
2.ซอฟต์แวร์หรือส่วนจัดการเชิงตรรกะ
คำถามท้ายหน่วยการเรียน บทที่6
1.อินเตอร์เน็ต(Internet)หมายความว่าอย่างไร
ตอบ หมายถึงเครือข่ายนานาชาติหรือเครือข่ายสากล
คือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน
2.จงอธิบายความสำคัญของอินเตอร์เน็ตทางด้านการศึกษาว่ามีอะไรบ้าง
ตอบ 1.สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล
2.ทำหน้าที่เปรียบเสมือนห้องสมุดขนาดใหญ่
3.นักศึกษาสามารถใช้อินเตอร์เน็ตติดต่อกับมหาลัยหรือโรงเรียนอื่นๆเพื่อค้นหาข้อมูลที่กำลังศึกษาอยู่ได้
3.จงบอกประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตอบ 1.ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
สะดวกและรวดเร็ว
2.ใช้สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆทั่วโลกได้
3.ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างระบบได้
4.สามารถส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ
5.ให้ความบันเทิง
เช่น ฟังเพลง เล่นเกมส์
6.ใช้สื่อสารข้อความโดยการพิมพ์โต้ตอบ
7.ใช้ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
8.ซื้อสินค้าและบริการ
4.การติดต่อโดยใช้สายโทรศัพท์ผ่านอุปกรณ์ Modem หมายความว่าอย่างไร
ตอบ เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับคู่สายโทรศัพท์โดยการแปลงสัญญาณดิจิตอลของคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก
แล้วส่งไปตามสายโทรศัพท์และเปลี่ยนจากสัญญาณอนาล็อกที่ได้จากสายโทรศัพท์ให้กลับไปเป็นสัญญาณดิจิตอล
เพื่อส่งต่อไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์ อีกครั้ง
5.ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต www มีประโยชน์อย่างไร
ตอบ เป็นบริการระบบข่าวสารที่มีข้อมูลอยู่ทุกแห่งในโลกข้อมูลเหล่านี้เชื่อมโยงกันเป็นระบบสามารถสืบค้นได้ง่าย
6.จงยกตัวอย่างประโยชน์ของ E-mail
ตอบ ประโยชน์ของ Email
1. ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
2. ง่ายต่อการบริหารจัดการขององค์การ
3. สะดวกในการนำข้อมูลมาใช้
4. ประชาสัมพันธ์องค์การให้หน่วยงานอื่นได้ทราบ
5. ประหยัดค่าใช้จ่ายขององค์การ
คำถามท้ายหน่วยการเรียน บทที่7
1.จงอธิบายเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบต่างๆว่ามีกี่ประเภท
ตอบ 4ประเภท
1.อินทราเน็ต
2.เอ็กซ์ตราเน็ต
3.อินเตอร์เน็ต
4.รูปแบบของข้อมูลในเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ
2.อินทราเน็ต(Intranet) หมายความว่าอย่างไร
ตอบ เป็นเครือข่ายสำหรับองค์กรหนึ่งๆข้อมูลส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร
หรือข้อมูลเพื่อการใช้ประโยชน์องค์กร
3.จงยกตัวอย่างแหล่งข้อมูลการสืบค้นบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
4.จงอธิบายวิธีการสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์ Google พอสังเขป
ตอบ ให้พิมพ์คำที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการหาเพียง2-3คำลงไปแล้วกดแป้น Enter หรือคลิกที่ปุ่มGoบนหน้าจอ Googleก็จะแสดงเว็บเพจที่ค้นหา
5.Digital Library หมายความว่าอย่างไร
ตอบ Digital Library (ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์)หมายถึงการจัดสารสนเทศในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์แทนที่จะจัดเก็บในรูปของสื่อพิมพ์
6.จงยกตัวอย่างแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ประเภทการศึกษา
คำถามท้ายหน่วยการเรียน บทที่8
1.ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
โดยเขียนตามความเข้าใจของผู้เรียน1.1 การนำเสนอผลงานมีวัตถุประสงค์อย่างไร
ตอบ การนำเสนออาจมีความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งหรืออาจหลายอย่างเพื่อให้เกิดความเข้าใจเพื่อโน้มน้าวใจเพื่อให้พิจารณาผลงานเพื่อให้เห็นด้วยให้การสนับสนุนหรืออนุมัติ
1.2 หลักการพื้นฐานสำคัญของการนำเสนอผลงานมีอะไรบ้าง
ตอบ การนำเสนอจะต้องมีจุดมุ่งหมายที่อยู่บนพื้นฐานของหลักการ ดังนี้
1.ต้องก่อประโยชน์ทั้งต่อฝ่ายผู้นำเสนอและผู้รับการนำเสนอ
2.ต้องคำนึงถึงผู้รับการนำเสนอเป็นหลัก
3.ต้องมีจุดมุ่งหมายที่มีความเป็นไปได้
4.ต้องไม่กำหนดจุดมุ่งหมายมากหลากหลายจนคลุมเครือ
5.ต้องกำหนดจุดมุ่งหมายให้สอดคล้องกับสถานการณ์
1.3
การบรรยายสดกับการพากย์มีข้อพิจารณาในการเลือกใช้ต่างกันอย่างไร
ตอบ 1. การบรรยายสด เหมาะสำหรับการประชุมหรือสัมมนาที่ต้องการให้ผู้ชมมีส่วนร่วม
เพราะผู้บรรยายในกรณีนี้เป็นผู้ที่รู้เรื่องราวเกี่ยวกับเนื้อหาเป็นอย่างดีรู้ว่าควรจะเน้นตรงจุดใดและปฏิกิริยาจากผู้ชมทำให้ผู้บรรยายรู้ว่าผู้ชมสามารถติดตามทำความเข้าใจได้เพียงพอหรือไม่รู้ว่าส่วนไหนจะต้องอธิบายขยายความมากน้อยเพียงใด
2. การพากย์ เหมาะสำหรับเนื้อหาที่สามารถถ่ายทอดได้โดยไม่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ชม
ข้อดีคือสามารถเลือกใช้เสียงพากย์ที่มีความไพเราะน่าฟัง สามารถเลือกใช้ดนตรี
หรือเสียงประกอบ (Sound effect) เพื่อสร้างบรรยากาศ
แต่ข้อเสียคือไม่มีความยืดหยุ่น
ไม่สามารถปรับให้เหมาะสมกับความรู้สึกของผู้ชมในขณะนั้น
1.4 เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอผลงานที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง
ตอบ 1. โพรเจกเตอร์ (Projector) เป็นอุปกรณ์ฉายภาพที่ใช้ในการนำเสนอ
โดยสามารถรองรับสัญญาณภาพจากคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นวีซีดี เครื่องเล่นดีวีดี
และเครื่องกำเนิดภาพอื่น ๆ แล้วแสดงผล ขยายขนาดบนจอรับภาพช่วยให้มองเห็นได้ไกลขึ้น
เหมาะสำหรับการนำเสนอข้อมูลในห้องประชุม
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถมองเห็นภาพหรือข้อความได้อย่างชัดเจน
2. วิชวลไลเซอร์
(Visualizer) เป็นอุปกรณ์ฉายภาพระบบดิจิทัลประเภทหนึ่ง
ซึ่งพัฒนามาจากโอเวอร์เฮดหรือเครื่องฉายข้ามศีรษะ
ใช้แสดงภาพวัตถุและเอกสารสู่จอรับภาพที่มีอยู่จริงได้เลย โดยไม่ต้องดัดแปลง
อุปกรณ์นี้เหมาะสำหรับใช้ในการนำเสนองานต่าง ๆ โดยเฉพาะครู-อาจารย์ที่สอนหนังสือ
และใช้ได้ดีในการนำเสนอภาพนิ่งมากกว่าภาพเคลื่อนไหว
แต่ภาพที่แสดงออกมานั้นก็ให้ความคมชัด มีสีสดใส
และมีโหมดของการแสดงภาพให้ปรับการทำงานด้วย การควบคุมการทำงานสามารถทำได้โดยใช้รีโมต
3. กล้องถ่ายรูปดิจิทัล
(Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับภาพที่เปลี่ยนจากฟิล์มมาเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ซึ่งเมื่อถ่ายรูปที่ต้องการแล้ว รูปจะถูกเก็บลงในหน่วยความจำ (memory) ที่อยู่ในกล้อง
เมื่อต้องการดูรูปทำได้โดยการถ่ายข้อมูลจากหน่วยความจำลงบนเครื่องพิมพ์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์
ภาพที่ได้จะมีขนาดตามที่ต้องการ สามารถย่อหรือขยาย
ปรับแสงหรือเงาแล้วแต่ความพอใจหรือจะเพิ่มรูปแบบก็สามารถทำได้ และเมื่อจะถ่ายใหม่
ก็สามารถใช้หน่วยความจำเดิมได้เลย โดยไม่ต้องเสียเงินซื้อฟิล์ม
4. กล้องถ่ายวีดิทัศน์ดิจิทัล
เป็นอุปกรณ์รับภาพที่บันทึกข้อมูล ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง
เก็บไว้ในหน่วยความจำแบบแฟลชภายในกล้อง สามารถย่อหรือขยาย ปรับแสงเงาของภาพได้
และในปัจจุบันสามารถคัดลอกข้อมูลลงในแผ่นดีวีดีได้เลย
โดยไม่ต้องโอนลงในเครื่องคอมพิวเตอร์
5. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและคอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึกหรือโน้ตบุ๊ก
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สร้างงานนำเสนอ เป็นสื่อกลางในการเชื่อมโยงอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น
โพรเจกเตอร์ เพื่อนำเสนองาน และใช้นำเสนองานผ่านจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์
6. เครื่องเล่นเสียง
หรือเครื่องเล่นเอ็มพีสาม (MP3) เป็นอุปกรณ์ซึ่งบรรจุข้อมูลเสียงที่ใช้เล่นในคอมพิวเตอร์และสามารถถ่ายโอนข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้
โดยข้อมูลเสียงนั้นใช้เทคโนโลยีบีบอัดให้มีขนาดเล็กลงมากกว่าข้อมูลเสียงปกติถึง 12 เท่า
แม้ขนาดข้อมูลจะเล็กลง แต่คุณภาพเสียงไม่ได้เสียไป อย่างไรก็ตาม
หากเรานำข้อมูลเสียงจากเครื่องเล่น MP3 ไปเล่นในเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นเก่า
จะได้เสียงในลักษณะกระตุกหรือใช้การไม่ได้เลย
7. โทรศัพท์เคลื่อนที่บางรุ่น
เป็นอุปกรณ์ตัวกลางที่ผู้ใช้สามารถนำเสนองานที่สร้างด้วยซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์ผ่านเครื่องโพรเจกเตอร์ได้สะดวก
ง่ายต่อการติดตั้ง
เพียงเชื่อมต่อโพรเจกเตอร์เข้ากับโทรศัพท์เคลื่อนที่ผ่านสายเคเบิล
แล้วเชื่อมต่อโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วยบลูทูธ
1.5 รูปแบบที่ใช้ในการนำเสนอผลงานที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง
ตอบ 1. การนำเสนอแบบ Web
page เป็นรูปแบบการนำเสนอที่ใช้บนอินเทอร์เน็ต
การนำเสนอแบบนี้สามารถสร้างการเชื่อมโยงที่สลับซับซ้อนระหว่างส่วนต่าง ๆ ตลอดจน
สามารถสร้างการเชื่อมโยงเอกสารที่ต่างรูปแบบกันได้แต่ต้องใช้เวลาในการจัดทำมากกว่า
รูปแบบอื่นและผู้จัดทำต้องมีความรู้ความชำนาญในโปรแกรมที่ใช้สร้างเว็บเพจ
2. การนำเสนอแบบ Slide Presentation เป็นการนำเสนอโดยใช้โปรแกรมนำเสนอ
ซึ่งเป็นโปรแกรม ที่ใช้ง่ายมากมีรูปแบบการนำเสนอให้เลือกใช้หลายแบบ สามารถเรียกใช้ตาราง
แผนภูมิ หรือรูปภาพประกอบ และตกแต่งด้วยสีสัน ทั้งสีพื้น สีของตัวอักษร
รูปแบบฟอนต์ ของตัวอักษรได้ง่ายและสะดวก ในปัจจุบันสื่อนำเสนอรูปแบบ Slide
Presentationหรือ สไลด์ดิจิทัล มักจะสร้างด้วยโปรแกรมในกลุ่ม Presentation เช่น Microsoft PowerPoint, OfficeTLE Impress เทคนิคการออกแบบสื่อนำเสนอ สื่อนำเสนอที่ดี ความมีความโดดเด่น น่าสนใจ
จะเน้นความคิด “ หนึ่งสไลด์ต่อ หนึ่งความคิด ” มีการสรุปประเด็น